เป็นเรื่องที่เขียนขึ้นจากคำพูดในหนังเรื่องนึงเมื่อหลายปีก่อน (หลายคนน่าจะรู้จักดีแล่ะ) เป็นเรื่องของการที่ตัวร้ายในหนังได้วางแผนการก่อการร้ายให้กับรัฐบาล ซึ่งถ้าเราเองในฐานะที่เสพข้อมูลทั้งข่าวสาร ทั้งภาพยนตร์ต่างๆ ก็จะคิดไปว่า การก่อการร้ายก็คงหมายถึง การวางระเบิด การสังหารหมู่ การใช้ความรุนแรง หรือแม้แต่การใช้เทคโนโลยี ทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนนั้นดำเนินไปด้วยความยากลำบาก เอาจริงมีภาพยนตร์หลายๆ เรื่องที่ทำแบบนั้นอยู่ตลอดมา แต่ผมมาสะดุดตรงตัวร้ายตัวนึง ที่พูดถึงการก่อการร้ายเอาไว้ชัดเจนมาก และที่สำคัญ ผมว่ามันร้ายแรงกว่าการวางระเบิด หรือ ปล่อยอาวุธเชื้อโรคสู่สังคมอีก ว่าด้วยเรื่องของการก่อการร้ายแบบเดิมๆ ที่เราคุ้นเคยในหนังเรื่องต่างๆ ถ้าระดับจักรวาลแบบทานอสเลยก็คือ ทำให้คนทั้งจักรวาลหายวับไปทันที ครึ่งหนึ่ง หรือแบบในหนังทั่วๆไป ที่แฮคเข้าระบบต่างๆ เช่นระบบการจราจร ระบบการสื่อสาร และระบบทางการเงินของประเทศ
Gopro10 เริ่มวางขายในบ้านเราเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กันยาที่ผ่านมา ผมเองก็มองๆเอาไว้ว่าจะซื้อหามาใช้ซักหน่อย จึงตั้งตารอ แต่ก็ไม่ได้ติดตามมากมาย จนเลื่อนฟีดบนเฟซแล้วเห็นว่ามีวางขายแล้วก็เลยรีบตัดสินใจสั่งซื้อตั้งแต่วันแรกที่วางขายกันเลย พร้อมกับ อุปกรณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะได้ใช้งาน ซึ่งถ้าซื้อพร้อมตัวเครื่องก็จะได้ราคาพิเศษ (ถูกลงมาอีกหน่อยนึง) ซึ่งก็มีรายการต่างๆ ตามนี้เลยครับ ถ้าย้อนไปเมื่อประมาณ 6-7 ปีก่อน ที่ผมซื้อ Gopro ใช้เป็นครั้งแรก ก็ต้องบอกว่าใช้งานได้คุ้มพอสมควร เพราะได้เอาไปถ่ายในการออกทริปต่างๆ หลายรอบมาก ทั้งยังให้น้องๆ บางคนยืมไปและบาดเจ็บกลับมา ต้องติดกาวตราช้างที่ขายึด และลงน้ำไม่ได้อีกแล้ว ซึ่งมันคือ เจ้า
CBDC คืออะไรกันแน่ เรามักจะได้ยินคำคำนี้บ่อยมากขึ้นในหัวข้อการเงินและธนาคาร เพราะคำเต็มๆของ CBDC มาจาก Central Bank Digital Currency หรือสกุลเงินดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารกลาง (ธนาคารแห่งประเทศไทยนั่นแล่ะ) ซึ่งถ้ามีการติดตามข่าวสารจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ก็จะรู้ว่าทีมงานของธนาคารแห่งประเทศไทย ก็มีการศึกษาความเป็นไป และสิ่งที่จะเกิดผลกระทบจากการมีและการใช้งาน CBDC หรือ บาทดิจิทัล ในประเทศไทยมาซักระยะเวลานึงแล้ว สำหรับคนที่อยู่ในตลาดคริปโตมาก่อนแล้ว เชื่อว่าหลายๆ คนก็อาจจะมีสกุลเงินที่เป็น Stable Coin ใช้งานกันอยู่แล้ว ซึ่งเราเองก็อาจจะเคยได้ยินข่าวร้านหมูกระทะบางร้านก็สามารถชำระเงินค่าอาหารมื้อนั้นด้วยเหรียญคริปโต ซึ่งก็คือ Stable
อันที่จริงเคยเขียนเรื่องนี้ไปแล้วครั้งนึง แต่เป็นแบบสั้นๆ และเป็นส่วนหนึ่งของบทความ Royalty 3.0 ซึ่งมันเป็นส่วนของการให้กลุ่มเป้าหมายของเรามีความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของร่วมด้วยกับโปรเจ็ค, ผลงาน หรือสินค้าของเรานั่นเอง แต่จริงๆ คำคำนี้ส่งผลมากมายกับสังคมและองค์กรต่างๆ บางครั้งในองค์กรเราอาจจะได้ยินคำว่า Sense of Ownership หรือ Organization Ownership หรืออะไรก็ตามประมาณนี้แล่ะ แต่ความหมายรวมๆ ก็คือการที่เรานั้น รู้สึกถึงการมีส่วนร่วมเปรียบเสมือนว่า องค์กร หรือธุรกิจนั้นๆ คือตัวตนของเรา Sense of Belonging นั้นโดยความเห็นส่วนตัว ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง ในการทำงาน
ปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา รถ Ford Eco-Sport ของผมโดนชนท้ายทำให้ต้องพาเข้าไปจอดในอู่นานพอสมควร ทั้งๆที่ไม่ได้หนักหนาอะไร แต่ก็เป็นประสบการณ์ว่า การทำประกันอู่นั้น กว่าจะได้อะไหล่มาแต่ละชิ้นนั้นยากเย็น รอแล้วรออีก แม้แต่อะไหล่ชิ้นเล็กๆ ยังต้องรอกันนานเลย สรุปก็คือ จอดที่อู่ 2 เดือนเต็มๆ จนแบตเสื่อมกันเลย ซึ่งในช่วงที่ไม่มีรถใช้ ก็เลยได้มีโอกาสเอามอเตอร์ไซค์ ใช้ซื้อของตะลอนๆ ไปที่ต่างๆบ้าง ทั้งคันเก่าคันแก่ Scoopi-I (เจ้าแองกรี้เบิร์ด) หรือได้ฟิลาโน่ของบูม(น้องชายแจน) มาให้ยืมใช้แว้นแถวๆบ้าน ก็เลยได้ทดสอบตัวเองว่า ถ้าจะซื้อมอเตอร์ไซค์จะชอบการขี่มั้ย หรือจะรู้สึกร้อน เมื่อย
เป็นเรื่องที่เขียนขึ้นจากคำพูดในหนังเรื่องนึงเมื่อหลายปีก่อน (หลายคนน่าจะรู้จักดีแล่ะ) เป็นเรื่องของการที่ตัวร้ายในหนังได้วางแผนการก่อการร้ายให้กับรัฐบาล ซึ่งถ้าเราเองในฐานะที่เสพข้อมูลทั้งข่าวสาร ทั้งภาพยนตร์ต่างๆ ก็จะคิดไปว่า การก่อการร้ายก็คงหมายถึง การวางระเบิด การสังหารหมู่ การใช้ความรุนแรง หรือแม้แต่การใช้เทคโนโลยี ทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนนั้นดำเนินไปด้วยความยากลำบาก เอาจริงมีภาพยนตร์หลายๆ เรื่องที่ทำแบบนั้นอยู่ตลอดมา แต่ผมมาสะดุดตรงตัวร้ายตัวนึง ที่พูดถึงการก่อการร้ายเอาไว้ชัดเจนมาก และที่สำคัญ ผมว่ามันร้ายแรงกว่าการวางระเบิด หรือ ปล่อยอาวุธเชื้อโรคสู่สังคมอีก ว่าด้วยเรื่องของการก่อการร้ายแบบเดิมๆ ที่เราคุ้นเคยในหนังเรื่องต่างๆ ถ้าระดับจักรวาลแบบทานอสเลยก็คือ ทำให้คนทั้งจักรวาลหายวับไปทันที ครึ่งหนึ่ง หรือแบบในหนังทั่วๆไป ที่แฮคเข้าระบบต่างๆ เช่นระบบการจราจร ระบบการสื่อสาร และระบบทางการเงินของประเทศ สิ่งที่ได้รับทันที คือ ความจลาจล ความวุ่นวาย ความสูญเสีย แต่สิ่งหนึ่งที่เข้ามาทดแทนทันที ก็คือประชาชนในฐานะเหยื่อ ก็จะมีการรวมใจ และร่วมใจกันช่วยบรรเทาภัยต่างๆ แบบเป็นหนึ่งเดียวมากขึ้น ที่เคยทะเลาะกันก็อาจจะช่วยกันในช่วงเวลาที่เกิดการก่อการร้าย หรือถ้าเป็นหนังซุปเปอร์ฮีโร่ ก็คือทุกคนจะเฮกับการช่วยเหลือต่างๆของซุปเปอร์ฮีโร่ เรื่องนั้นๆ แต่เอาเข้าจริง
Gopro10 เริ่มวางขายในบ้านเราเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กันยาที่ผ่านมา ผมเองก็มองๆเอาไว้ว่าจะซื้อหามาใช้ซักหน่อย จึงตั้งตารอ แต่ก็ไม่ได้ติดตามมากมาย จนเลื่อนฟีดบนเฟซแล้วเห็นว่ามีวางขายแล้วก็เลยรีบตัดสินใจสั่งซื้อตั้งแต่วันแรกที่วางขายกันเลย พร้อมกับ อุปกรณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะได้ใช้งาน ซึ่งถ้าซื้อพร้อมตัวเครื่องก็จะได้ราคาพิเศษ (ถูกลงมาอีกหน่อยนึง) ซึ่งก็มีรายการต่างๆ ตามนี้เลยครับ ถ้าย้อนไปเมื่อประมาณ 6-7 ปีก่อน ที่ผมซื้อ Gopro ใช้เป็นครั้งแรก ก็ต้องบอกว่าใช้งานได้คุ้มพอสมควร เพราะได้เอาไปถ่ายในการออกทริปต่างๆ หลายรอบมาก ทั้งยังให้น้องๆ บางคนยืมไปและบาดเจ็บกลับมา ต้องติดกาวตราช้างที่ขายึด และลงน้ำไม่ได้อีกแล้ว ซึ่งมันคือ เจ้า Gopro Hero ที่ออกมาช่วงเดียวกันกับ Gopro 3 หรือ 4 เนี่ยแล่ะครับ ในช่วงเวลานั้น เป็นยุคแรกที่ Gopro มาพร้อมกับจอด้านหลัง (รุ่นก่อนๆ ต้องซื้อแยกเป็นอุปกรณ์เสริม) ที่กินแบตพอสมควร
CBDC คืออะไรกันแน่ เรามักจะได้ยินคำคำนี้บ่อยมากขึ้นในหัวข้อการเงินและธนาคาร เพราะคำเต็มๆของ CBDC มาจาก Central Bank Digital Currency หรือสกุลเงินดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารกลาง (ธนาคารแห่งประเทศไทยนั่นแล่ะ) ซึ่งถ้ามีการติดตามข่าวสารจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ก็จะรู้ว่าทีมงานของธนาคารแห่งประเทศไทย ก็มีการศึกษาความเป็นไป และสิ่งที่จะเกิดผลกระทบจากการมีและการใช้งาน CBDC หรือ บาทดิจิทัล ในประเทศไทยมาซักระยะเวลานึงแล้ว สำหรับคนที่อยู่ในตลาดคริปโตมาก่อนแล้ว เชื่อว่าหลายๆ คนก็อาจจะมีสกุลเงินที่เป็น Stable Coin ใช้งานกันอยู่แล้ว ซึ่งเราเองก็อาจจะเคยได้ยินข่าวร้านหมูกระทะบางร้านก็สามารถชำระเงินค่าอาหารมื้อนั้นด้วยเหรียญคริปโต ซึ่งก็คือ Stable coin อย่าง USDT, BUSD, หรือ USDC นั่นเอง ซึ่ง CBDC หรือเงิน บาทดิจิทัล ก็เป็นแบบเดียวกัน คือเป็นเหรียญที่มีค่าค่อนข้างคงที่ตายตัว 1 บาทดิจิทัล
อันที่จริงเคยเขียนเรื่องนี้ไปแล้วครั้งนึง แต่เป็นแบบสั้นๆ และเป็นส่วนหนึ่งของบทความ Royalty 3.0 ซึ่งมันเป็นส่วนของการให้กลุ่มเป้าหมายของเรามีความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของร่วมด้วยกับโปรเจ็ค, ผลงาน หรือสินค้าของเรานั่นเอง แต่จริงๆ คำคำนี้ส่งผลมากมายกับสังคมและองค์กรต่างๆ บางครั้งในองค์กรเราอาจจะได้ยินคำว่า Sense of Ownership หรือ Organization Ownership หรืออะไรก็ตามประมาณนี้แล่ะ แต่ความหมายรวมๆ ก็คือการที่เรานั้น รู้สึกถึงการมีส่วนร่วมเปรียบเสมือนว่า องค์กร หรือธุรกิจนั้นๆ คือตัวตนของเรา Sense of Belonging นั้นโดยความเห็นส่วนตัว ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง ในการทำงาน เพราะไม่ว่าเราจะเก่งหรือมีความสามารถแค่ไหน แต่แค่การมีมุมมองของการเป็นเจ้าของเพิ่มเข้าไปด้วยแล้ว ปัญหาอุปสรรคหลายๆ อย่าง ก็จะมีทางออกเสมอ หรืออย่างน้อย เราก็จะมองหาวิธีการที่ดีที่สุดให้กับองค์กร ตัวอย่างหนึ่งของความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของก็คือ ช่วงเวลาการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติทุกรายการ เช่นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิค 2020 ที่กำลังแข่งขันอยู่ที่ญี่ปุ่นในตอนนี้ ไม่ว่าคุณจะเป็นใครจังหวัดอะไร จนหรือรวย รสนิยมทางการเมืองเป็นแบบไหนไม่สำคัญ
ปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา รถ Ford Eco-Sport ของผมโดนชนท้ายทำให้ต้องพาเข้าไปจอดในอู่นานพอสมควร ทั้งๆที่ไม่ได้หนักหนาอะไร แต่ก็เป็นประสบการณ์ว่า การทำประกันอู่นั้น กว่าจะได้อะไหล่มาแต่ละชิ้นนั้นยากเย็น รอแล้วรออีก แม้แต่อะไหล่ชิ้นเล็กๆ ยังต้องรอกันนานเลย สรุปก็คือ จอดที่อู่ 2 เดือนเต็มๆ จนแบตเสื่อมกันเลย ซึ่งในช่วงที่ไม่มีรถใช้ ก็เลยได้มีโอกาสเอามอเตอร์ไซค์ ใช้ซื้อของตะลอนๆ ไปที่ต่างๆบ้าง ทั้งคันเก่าคันแก่ Scoopi-I (เจ้าแองกรี้เบิร์ด) หรือได้ฟิลาโน่ของบูม(น้องชายแจน) มาให้ยืมใช้แว้นแถวๆบ้าน ก็เลยได้ทดสอบตัวเองว่า ถ้าจะซื้อมอเตอร์ไซค์จะชอบการขี่มั้ย หรือจะรู้สึกร้อน เมื่อย เหนื่อยรึป่าว แต่ช่วง 2 เดือนที่ไม่ได้ขับรถ ก็ทำให้รู้ว่า ตอนที่อยู่บนรถมอเตอร์ไซค์นั้นก็สนุกดีนะ อารมณ์คล้ายๆ กับการได้สนุกกับการปั่นจักรยานน่ะแล่ะ สุดท้ายก่อนที่รถจะเสร็จแค่วีคเดียวก็เลยตัดสินใจไปถอยเจ้า Honda CRF 300L มาเรียบร้อย เอาจริง ในกลุ่มรถมอเตอร์ไซค์เนี่ย
ช่วงที่ผ่านมาก็แอบศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับตลาดคริปโตอยู่บ้าง เพราะข้อมูลของตลาดนี้ค่อนข้างมีมากจนต้องใช้เวลาพอสมควร ถึงจะเรียนรู้แบบเบื้องต้นแบบที่พอจะคุยกับคนในตลาดนี้รู้เรื่อง ซึ่งก็ยังมีเรื่องที่ต้องศึกษาข้อมูลอีกมากมายครับ ก่อนอื่นคงต้องบอกว่า ผมในวันที่ไม่รู้เรื่องใดๆ เกี่ยวกับคริปโต เลยรู้แค่ มีบิทคอยน์ มีเหรียญ Alt coin แล้วก็ตอนที่อยากรู้อยากเห็นมากขึ้นก็ได้ยินเรื่องราวของตลาด DeFi (Decentralized Finance) ที่ช่วงเวลานั้นเติบโตมหาศาล ใช่แล้วครับ วันแรก ที่ผมก้าวเข้ามาศึกษา ก็เข้ามาวันที่ 15 พฤษภาคม 2021 ในวันที่ราคา BTC อยู่ประมาณเกือบๆ 60,000 เหรียญ เป็นช่วงที่ราคาเพิ่มขยับลงมาจากจุดสูงสุดเพียงนิดหน่อย เหมือนย่อให้เม่าอย่างผมเนี่ยแล่ะ บินเข้าไปสนุกกับมัน กลับมาที่อยากรู้เรื่องและอยากลองลงทุนในตลาด DeFi ก็เลยปรึกษารุ่นน้องที่ศึกษาอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งขอบคุณที่แนะนำวิธีการเปิดคริปโตวอลเล็ท แถมมีการให้แลกเงินสำหรับเริ่มต้นในตลาด DeFi ด้วยอีกต่างหาก ซึ่งครั้งแรก ขอลองศึกษาด้วยเงิน 50,000 บาท (ประมาณ $1,500)
โพสต์นี้เป็นเนื้อหากึ่งๆบล็อกกับการอัพเดทงานที่กำลังตั้งใจทำอยู่ จริงๆแล้วตั้งใจ “ว่าจะทำ” มานานแสนนานมากๆ แต่ติดตรงที่ลองแล้วเกิดเฟลก็เลยหยุดไปก่อน หยุดไปนาน นานจนลืมเลย ถ้าไม่ฮึดขึ้นมาเองก็ไม่ได้เริ่มทำอีกแน่นอน อย่างที่เพื่อนฝูงจะรับรู้ว่า ตอนนี้ผมเองทำงานให้บริษัท POPS ซึ่งเป็น YouTube Partner ที่คอยช่วยเหลือน้องๆ ที่เป็นครีเอเตอร์ คอยอำนวยความสะดวก หรือให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้น้องๆ เหล่านั้นได้นำไปพัฒนาช่องให้เติบโต ซึ่งก็มีน้องๆ หลายๆคนเติบโตจากไอเดียที่ผมให้ไป จนผมเองเริ่มกลับมาเลี้ยงหนูแฮมสเตอร์ ก็เลยได้ไอเดียที่จะทำคลิปสั้นๆ เป็นแนวๆ Hamster Maze ที่ปล่อยหนูแฮมสเตอร์ ลงไปเดินเล่นในเขาวงกตที่เราสร้างให้เค้า โดยจัดทำเป็นเนื้อเรื่องต่างๆ จากเกม ไม่ว่าจะเป็นฉากจาก Minecraft, Mario Bros. หรือ Fall Guys ที่ได้นำมาตั้งเป็นชื่อช่องด้วยเลย รอบนี้ได้บทเรียนมาจากครั้งก่อนเยอะ ที่ต้องหาโต๊ะเอาไว้สำหรับสร้างฉากประดิษฐ์ฉาก เพราะครั้งก่อนนั่งทำกับพื้นทั้งวัดขนาด ตัดกระดาษ ตัดฟิวเจอร์บอร์ด ทำได้ไม่นานก็ปวดหลังอย่างมาก
Non-Fungible Token หรือ NFT กลายมาเป็นกระแสอย่างมากในช่วงเวลานี้ ไม่ว่าจะวงการไหนต่างก็รีบเข้ามาจับจองพื้นที่ให้ได้ไวที่สุด แต่เชื่อว่าหลายคนยังคงสงสัยว่า NFT เนี่ยมันคืออะไรกันแน่ Non-Fungible Token แปลแบบตรงตัวเลยก็คือ โทเคน หรือเหรียญ ที่ไม่สามารถทำซ้ำหรือทดแทนกันได้ ถ้าลองนึกถึงสิ่งที่เราสามารถทดแทนกันได้ชัดเจนที่สุด ให้เราลองนึกถึง ธนบัตร ครับ ถึงแม้ว่า มันจะมีเลขกำกับในแต่ละใบ แต่เราก็ยินดีที่จะรับแลกเปลี่ยนมัน หรือในเวลาที่เพื่อนเราอยากได้แบงค์ย่อย โดยเอาแบงค์พันมาแลกกับเรา เราก็ยินดีให้แลกเปลี่ยน เพราะมูลค่าของมันสามารถทดแทนกันได้นั่นเอง แต่ในบางครั้ง ธนบัตรบางใบ ก็ไม่สามารถทดแทนมูลค่าที่เจ้าของได้ให้เอาไว้นะครับ เช่น ถ้าเรามีแบงค์ร้อยซักใบ ที่ตัวเลขบนนั้นเป็นเลขสวย เลขมงคล ยกตัวอย่างเวอร์ๆ ก็คือ 9 x 999999999 แบบนี้ ก็อาจจะทำให้มูลค่าของมันไม่สามารถทดแทนได้แล้วด้วยแบงค์ร้อยใบอื่นๆ ดังนั้น NFT ก็คือโทเคนใดๆ ก็ตามที่ไม่สามารถทดแทนกันได้ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
กระแสการเงินดิจิทัลกำลังเติบโต ไม่ว่าจะวงการไหนๆ ต่างก็ต้องวิ่งเข้ามาร่วมวงด้วย และเนื้อหาที่จะพูดถึงในวันนี้เป็นเรื่องราวของวงการ Influencer บนทุกแพลตฟอร์ม และไม่ว่าจะอยู่บนแพลตฟอร์มไหนก็ตาม ทุกคนต่างก็มีผู้ติดตามเป็นของตัวเอง และ Fans Token จะเป็นตัวช่วยให้ Influencer ได้มีช่องทางที่จะสื่อสารกับแฟนๆ ของตัวเองได้ ผ่านช่องทาง fanstoken.io แล้ว Fans Token คืออะไรกันแน่ โดยคำนิยามของ Fans Token คือการเปลี่ยนชื่อเสียงและความนิยมของเหล่าอินฟลูเอนเซอร์ ให้อยู่ในรูปแบบเหรียญดิจิทัล โดยที่แฟนคลับสามารถใช้เหรียญ Fans Token สำหรับซื้อ NFTs (Non Fungible Token) รวมไปถึงใช้เหรียญ Fans Token ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆกับเหล่าอินฟลูเอนเซอร์ บนทคโนโลยีบล็อคเชน วัตถุประสงค์หลักของ Fans Token ก็คือ ช่วยให้วงการอินฟลูเอนเซอร์เติบโตขึ้น เพิ่ม engagement และสร้าง
หนึ่งในหัวข้อที่ผมสอน YouTube Creators บ่อยๆ ก็คือ พื้นฐาน 10 ข้อในการสร้างช่อง YouTube และข้อแรกของมันก็คือ ทำคอนเท้นต์ที่คนดูอยากแชร์ (Shareability) ซึ่งมันจะเป็นตัวช่วยอย่างดีในการโปรโมต YouTube channel ของคุณให้เป็นที่รู้จักจากคอนเท้นต์เหล่านี้ อาจเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับความสามารถพิเศษ อย่างเช่น เด็กเล่นเครื่องดนตรีได้เก่งเกินเด็ก นักกีฬาเอ็กซ์ตรีมที่เล่นผาดโผนได้เก่ง (จักรยาน สเก็ตบอร์ด ปากัวร์) หรือเรื่องราวเหลือเชื่อบางอย่าง เช่นทริคช็อตต่างๆ หรือคุณป้าที่อายุไม่น้อยแล้วแต่เป็นนักกีฬาลองบอร์ด หรืออาจเป็นเนื้อหาที่มีความฮาเป็นตัวนำ เช่นคลิปในหัวข้อก่อนหน้าที่เป็นกีฬาเอ็กซ์ตรีมต่างๆ แต่คราวนี้ไม่ได้ว้าวเพราะไม่เจ๋งพอ แต่กลับกลายเป็นฮา เพราะทำพลาด ซึ่งถ้าเราวัดจากช่องยูทูปต่างประเทศ คนติดตามคลิปพลาด (Fail) มีมากกว่าคลิปเจ๋ง (Awesome) อยู่พอสมควร และเนื้อหาที่เกี่ยวกับหัวข้อในวันนี้ก็คือเรื่องของกระแส เทรนด์ และความนิยมในช่วงเวลาปัจจุบัน ซึ่งได้ผลดีในหลายๆคนหลายเคส ยกตัวอย่างเช่น กระแสแรก ขอยกให้กับกระแสที่ตามมาพร้อมกับการ Lock
me:
จากประสบการณ์ที่อยู่ในตลาดของอินเตอร์เน็ตเมืองไทย (ตั้งแต่ปี 1999) ผมได้ผ่านอะไรหลายๆอย่าง ผ่านยุคผ่านสมัยต่างๆของ เทคโนโลยี และในปัจจุบันก็ยังสามารถเอาชีวิตรอดอยู่ในธุรกิจนี้ เพียงแต่จำเป็นที่จะต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา
ตอนนี้ผมทำงานเกี่ยวกับ Influencers โดยเฉพาะบน YouTube ใครสนใจหรืออยากได้คำแนะนำในการทำเนื้อหาบน YouTube ยินดีพูดคุยกันนะครับ
ป.ล. ผมเลี้ยงง่าย แค่กาแฟถ้วยเดียวก็พอครับ
และถ้าคุณเห็นโปรลด 20% 50% คุณก็จะรู้ว่ามันหมายถึงถ้าคุณซื้อของร้อยนึงมันจะลดเหลือ 80 บาท 50 บาท แต่โลกทุกวันนี้คือ โค้ดลดจุใจ 50% เมื่อสั่งซื้อขั้นต่ำ 3000 ลดสูงสุด 20 บาท